เรอ บ่อยๆ ตลอดเวลา ไม่หยุด เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

เรอ บ่อยๆ ตลอดเวลา ไม่หยุด เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

เรอ หรือ Belching หรือ Burping คือ ลมที่ถูกปล่อยออกมาจากกระเพาะอาหารออกมาทางปาก โดยทั่วไปมักจะมีเสียง แต่จะเบาหรือดังก็ขึ้นกับแต่ละบุคคล เกิดจากการกลืนอากาศเข้าไประหว่างรับประทานอาหาร เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแก๊ส อาหารไม่ย่อย หรือปัญหาของระบบย่อยอาหารอื่นๆ คนปกติจะมีการเรอบ้างไม่ต้องกังวลอะไร แต่ถ้ามีการเรอ มากเกินไป-ดังเกินไป-ถี่เกินไป อาจจะเป็นสัญญาณบอกปัญหาสุขภาพของระบบย่อยอาหาร

ปัญหา “ลม” ในระบบทางเดินอาหาร

เรอบ่อย | อาการ

  1. มีอาการเรอ มากเกินไป หรือ ดังเกินไป หรือ ถี่เกินไป จนเป็นที่สังเกตได้

กินผักเยอะแต่ท้องผูก สาเหตุคืออะไร? แก้ไขยังไง?

เรอบ่อย | สาเหตุ

  1. เคี้ยวน้อย กลืนเร็ว | พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เร่งรีบเกินไป รีบเคี้ยว-รีบกลืน-รีบกิน
  2. เครื่องดื่มอัดแก๊ส | เครื่องดื่มที่มีการอัดแก๊สเข้าไปเพื่อให้เกิดความซ่าจะเพิ่มอากาศเข้าไปในกระเพาะ
  3. หมากฝรั่ง | ระหว่างการเคี้ยวหมากฝรั่งจะกลืนอากาศเข้าไปมากกว่าปกติ
  4. ลูกอม | ระหว่างการ คลึง-อม-ดูด ลูกอมจะกลืนอากาศเข้าไปมากกว่าปกติ
  5. สูบบุหรี่ | ระหว่างหายใจเข้าเพื่อสูดควันบุหรี่เข้าปอดอาจจะเพิ่มโอกาสที่จะกลืนอากาศเข้าไปมากขึ้น
  6. ฟันปลอม | ฟันปลอมที่ไม่พอดีกับช่องปากอาจจะเพิ่มโอกาสที่จะกลืนอากาศเข้าไปมากขึ้น
  7. กรดไหลย้อน | ถ้ามีปัญหากรดไหลย้อนอยู่แล้วจะเพิ่มโอกาสที่อากาศในกระเพาะจะไหลย้อนออกมา
  8. ควบคุมร่างกายได้ | ร่างกายบางคนอาจจะกลืนอากาศเข้าไปแล้วควบคุมให้เรอออกมาได้

อาหารไม่ย่อย ควรกินอะไรดี?

เรอ บ่อยๆ ตลอดเวลา ไม่หยุด เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?
เรอ บ่อยๆ ตลอดเวลา ไม่หยุด เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

เรอบ่อย | รักษา

  1. ปรับพฤติกรรม | รับประทานให้ช้าลง เคี้ยวนานๆ ค่อยๆ กลืน กินพอดีอิ่ม และไม่นอนหลังอิ่มทันที
  2. ปรับอาหาร | ลด-ละ-เลิก หมากฝรั่ง ลูกอม น้ำอัดลม เบียร์ บุหรี่
  3. ปรึกษาแพทย์ | ถ้าทำทุกอย่างที่สามารถควบคุมได้แล้วยังแก้ปัญหาไม่ได้ควรพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

ตดบ่อย ลมในท้องเยอะ เกิดจากอะไร?

เรอบ่อย | ป้องกัน

  1. ควบคุมรูปร่างให้สมส่วน | ดูแลน้ำหนักให้พอดีเหมาะสมกับส่วนสูงและอายุ ไม่อ้วนเกินและผอมเกิน
  2. รับประทานพอดีอิ่ม | แต่ละมื้ออาหารค่อยๆ เคี้ยว ค่อยๆ กลืน และรับประทานให้อิ่มพอดี ไม่อิ่มเกินไป
  3. ดูแลสุขภาพองค์รวม | ทำในสิ่งที่ร่างกายชอบให้มากขึ้น ทำในสิ่งที่ร่างกายไม่ชอบให้ลดลง

ยาช่วยย่อยอาหาร | เหมาะกับใคร? ผลข้างเคียง? วิธีรับประทาน?

อาหารเสริมสุขภาพระบบย่อยอาหารเกรดการแพทย์

Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyze Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Wellness Hub – Digest

Digest | อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยอาหารเกรดการแพทย์ มีส่วนประกอบ ดังนี้

  1. Amylase = 7,200U
  2. Protease = 1,800U
  3. Lactase = 1,200U
  4. Lipase = 300U
  5. Cellulase = 60U
  6. Bromelain = 120GDU
  7. Pepsin 1:3000 NF = 50mg
  8. Trypsin = 12,500IU

Similar Posts