ช่องคลอดมีกลิ่น เหม็น | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

ช่องคลอดมีกลิ่น ช่องคลอดเหม็น ช่องคลอดมีกลิ่นเหม็น ช่องคลอดเหม็นกลิ่นคาวปลา ช่องคลอดมีกลิ่นปลาเค็ม น้องสาวมีกลิ่น น้องสาวเหม็น น้องสาวมีกลิ่นเหม็น น้องสาวเหม็นกลิ่นคาวปลา น้องสาวมีกลิ่นปลาเค็ม อวัยวะเพศมีกลิ่น อวัยวะเพศเหม็น อวัยวะเพศมีกลิ่นเหม็น อวัยวะเพศเหม็นกลิ่นคาวปลา อวัยวะเพศมีกลิ่นปลาเค็ม จิ๋มมีกลิ่น จิ๋มเหม็น จิ๋มมีกลิ่นเหม็น จิ๋มเหม็นกลิ่นคาวปลา จิ๋มมีกลิ่นปลาเค็ม จิมิมีกลิ่น จิมิเหม็น จิมิมีกลิ่นเหม็น จิมิเหม็นกลิ่นคาวปลา จิมิมีกลิ่นปลาเค็ม

สารพัดคำเรียกทั้งหมดนี้เป็นปัญหาเดียวกัน คือ Vaginal Odor | สาเหตุเกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

ตดเหม็น เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

ช่องคลอดมีกลิ่น | 10 ความจริงของน้องสาว

  1. กลิ่นเปลี่ยนไม่ต้องตกใจ | ฮอร์โมนเพศหญิงเปลี่ยนแปลงทุกวัน ทำให้กลิ่นเปลี่ยนเป็นเรื่องปกติ
  2. กลิ่นแปลกต้องคอยสังเกต | กลิ่นเปลี่ยนไม่แปลกแต่ถ้ากลิ่นแปลกต้องคอยสังเกต
  3. จุลินทรีย์พันล้านตัว | ภายในสิ่งมีชีวิตอาศัยเป็นจำนวนมาก การเปลี่ยนแปลงของมันส่งผลต่อกลิ่น
  4. ล้างเฉพาะภายนอก | รักษาความสะอาดเฉพาะภายนอก อย่าล้างทำความสะอาดภายใน
  5. น้ำเปล่าดีที่สุด | ไม่ว่าจะมีนวัตกรรมน้ำยาทำความสะอาดอะไร สุดท้ายร่างกายจะปรับสมดุลเอง
  6. เพศสัมพันธ์ | รักษาความสะอาดของสิ่งที่จะเอาเข้าไปในช่องคลอดทุกอย่าง
  7. ภายในเป็นกรดอ่อน | ภายในช่องคลอดมีความเป็นกรดอ่อน
  8. กินอะไรได้อย่างนั้น | ทุกสิ่งที่รับประทานจะส่งผลต่อสุขภาพจากภายใน รวมถึงกลิ่นด้วย
  9. อาบน้ำหลังออกกำลังกาย | เหงื่อ-อับ-ชื้น ส่งผลต่อภายใน รวมถึงกลิ่นด้วย
  10. ประจำเดือนบอกสุขภาพ | คอยสังเกตความผิดปกติของรอบเดือน สีและปริมาณของประจำเดือน

โพรไบโอติก Probiotic | คืออะไร? ช่วยอะไร? กินตอนไหน?

ช่องคลอดมีกลิ่น | เกิดจากอะไร?

  1. แบคทีเรียเสียสมดุล | กลิ่นปลาเค็ม กลิ่นคาวปลา
  2. ยีสต์เสียสมดุล | กลิ่นยีสต์
  3. รักษาความสะอาดไม่ดี | กลิ่นเหม็นอับ
  4. มีสิ่งแปลกปลอมตกค้าง | กลิ่นเน่า
  5. อาหารแปลกใหม่ที่ไม่ค่อยได้รับประทาน | กลิ่นอาหารนั้น
  6. ช่วงมีประจำเดือน | กลิ่นโลหะ กลิ่นเหล็ก
  7. มีเพศสัมพันธ์แบบที่ผู้ชายเสร็จข้างใน | กลิ่นน้ำอสุจิ
  8. ติดเชื้อผ่านทางเพศสัมพันธ์ | กลิ่นเปรี้ยว
  9. มีการอักเสบภายใน | กลิ่นเปรี้ยว
  10. กางเกงในแน่นหนาเกินไป | กลิ่นเหงื่อ
  11. หลังออกกำลังกาย | กลิ่นเหงื่อ
  12. เครียดมากเกินไป | กลิ่นไม่แน่นอน
  13. พยาธิในช่องคลอด | กลิ่นฉุน คาวปลา
  14. มะเร็งปากมดลูก | กลิ่นโลหะ กลิ่นป่วย

Dysbiosis | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

ช่องคลอดมีกลิ่น เหม็น | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?
ช่องคลอดมีกลิ่นเหม็น | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

ช่องคลอดมีกลิ่น | แก้ไขยังไง?

  1. ล้างให้สะอาด | ล้างน้ำเปล่าเฉพาะภายนอกและซับให้แห้ง
  2. อย่าสวนล้างภายใน | อย่ารีบร้อนสวนล้างช่องคลอด อาจทำให้อาการรุนแรงขึ้น ติดเชื้อมากขึ้น
  3. เกงเกงใน | ขนาดพอดีสัดส่วน เนื้อผ้าไม่แน่นหนาเกินไป กลางคืนไม่ต้องใส่นอนตลอดเวลา
  4. เพศสัมพันธ์ | ใส่ถุงยางอนามัย รักษาความสะอาด ไม่รุนแรงเกินไป
  5. อาหาร | รับประทานพรีไบโอติกก่อน เสริมด้วยโพรไบโอติกหรือโพสไบโอติก
  6. น้ำเปล่า | ดื่มน้ำเปล่าที่สะอาดและมีแร่ธาตุสม้ำเสมอตลอดทั้งวัน

ถ้าปรับพฤติกรรมด้วยตัวเองแล้วอาการยังไม่ดีขึ้นหรือไม่หาย ควรพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุถ้ามีอาการเหล่านี้เพิ่มเติม

  • คัน
  • ปวด
  • เจ็บระหว่างมีเพศสัมพันธ์
  • มีเลือดออกที่ไม่ใช่ประจำเดือน

พรีไบโอติก Prebiotic | คืออะไร? มีประโยชน์อะไร?

อาหารเสริมช่วยลดกลิ่นเหม็น

Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyzed Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG (Partially Hydrolyzed Guar Gum) ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs: Short-Chain Fatty Acids) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts