กินแคลเซียม แล้วท้องผูก แก้ไขยังไงดี

กินแคลเซียม แล้วท้องผูก คือ ปัญหาที่พบได้มากเมื่อรับประทานอาหารเสริมแคลเซียม มีวิธีการแก้ไขปัญหานี้ยังไงบ้างที่เห็นผลจริง ปลอดภัย และดีต่อสุขภาพในระยะยาว

ทุกเรื่องเกี่ยวกับ แคลเซียม (Calcium) ที่คนทั่วไปควรรู้

วิธีแก้ปัญหาท้องผูกจากแคลเซียม

1. เปลี่ยนประเภทแคลเซียม

แคลเซียม คาร์บอเนต (Calcium Carbonate) คือ รูปแบบของแคลเซียมที่มีมากที่สุดในท้องตลาด สกัดมาจากหินปูน มีสัดส่วนแคลเซียมสูงถึง 40% ควรกินพร้อมมื้ออาหารเพราะจะทำให้แตกตัวได้ดีที่สุด นอกจากนั้นแล้วยังต้องการวิตามินดีเพื่อเป็นสารร่วมในการดูดซึมที่ลำไส้เล็ก แต่ปัญหาที่เจอส่วนใหญ่คือทำให้ท้องผูก ท้องอืด ปวดท้อง

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) คือ รูปแบบนึงของแคลเซียมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อรักษาภาวะโรคกระดูกพรุน จึงมีคุณสมบัติเด่นคือสามารถแตกตัวและดูดซึมได้ดีที่สุดในบรรดาแคลเซียมในรูปแบบต่างๆ นอกจากนั้นแล้วยังมีกรดแอล-ทรีโอนิก ซึ่งเป็นรูปแบบนึงของวิตามินซีที่เป็นสารสำคัญในการสร้างคอลลาเจนในเนื้อกระดูก ทำให้ในระยะหลังๆ เริ่มเป็นที่นิยมในท้องตลาด ไม่ว่าจะเพื่อการรักษาหรือเพื่อการป้องกัน เป็นแคลเซียมอินทรีย์ที่สกัดมาจากธรรมชาติ คือ ข้าวโพด ทำให้เป็นธรรมชาติและปลอดภัย มีโมเลกุลเล็ก ละลายน้ำได้ดี ไม่ตกตะกอนเป็นนิ่วในไต และไม่ทำให้ท้องผูก

Calcium L-Threonate ดูดซึมดีที่สุดแต่ไม่ใช่ทุกอย่าง

กินแคลเซียม แล้วท้องผูก แก้ไขยังไงดี
กินแคลเซียม แล้วท้องผูก แก้ไขยังไงดี

2. ไม่เปลี่ยนประเภทแคลเซียม

  1. รับประทานอาหารเสริมแคลเซียมพร้อมมื้ออาหารหรือหลังอาหารทันที
  2. ดื่มน้ำเปล่าในปริมาณมากกว่าปกติ 2-4 แก้ว/วัน
  3. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่ทำให้ร่างกายขาดน้ำ
    • กาแฟ
    • ชา
    • เหล้า
    • เบียร์
    • ไวน์
  4. รับประทานอาหารที่มีกากใยสูงเพิ่มมากขึ้น
    1. ผัก
      • ดอกสะเดา
      • ใบเหลียง
      • ดอกแค
      • ขี้เหล็ก
      • กระเฉด
      • กระเจี๊ยบเขียว
    2. ผลไม้
      • ลูกพรุน
      • ราสเบอร์รี่
      • อะโวคาโด
      • ฝรั่ง
      • เสาวรส
    3. ธัญพืช
      • เมล็ดเจีย
      • อัลมอนต์
      • ข้าวโอ๊ต
      • ควินัว
      • กราโนล่า
    4. ถั่ว
      • ถั่วลันเตาเหลือง
      • ถั่วเลนทิล
      • ถั่วดำ
      • ถั่วชิกพี
    5. เห็ด
      • เข็มทอง
      • หอม
      • นางฟ้า
      • ออรินจิ
  5. หลีกเลี่ยงอาหารที่ร่างกายย่อยยาก
    • เนื้อสัตว์สีแดง
    • นมวัว
    • ชีส
    • อาหารที่มีไขมันสูง (น้ำมันเยิ้มๆ)
  6. ปรับท่าทางการนั่งขับถ่ายอุจจาระให้ตำแหน่งของก้นอยู่ต่ำกว่าหัวเข่า (นั่งยองๆ)
  7. ไม่เล่นมือถือ แท็บเล็ต หรืออ่านหนังสือ ระหว่างอุจจาระ
  8. รับประทานอาหารเสริมเพิ่มมากขึ้น เช่น
    • พรีไบโอติก (Prebiotic)
    • โพรไบโอติก (Probiotic)
    • กากใยอาหาร (Dietary Fiber)
  9. สวนล้างลำไส้ด้วยตัวเองที่บ้าน

ท้องผูก | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

แคลเซียมแบบไม่ท้องผูก

กินแคลเซียม แล้วท้องผูก แก้ไขยังไงดี
BeCal – บีแคล

BeCal คือ อาหารเสริมแคลเซียมที่ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (Calcium L-Threonate) คือ รูปแบบของแคลเซียมที่สกัดมาจากข้าวโพด ทำให้สามารถดูดซึมได้ดีกว่าแคลเซียมแบบทั่วๆ ไป มากถึง 9 เท่า นอกจากนั้นแล้วยังมีส่วนผสมอื่นๆ ที่ช่วยทำให้แคลเซียมเข้าไปที่กระดูกและฟัน ดังนี้

  • แมกนีเซียม (Magnesium) | ช่วยพาแคลเซียมเข้ากระดูกและฟัน ช่วยทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย-ลดตะคริว
  • วิตามินดีสาม (Vitamin D-3) | ช่วยเพิ่มการดูดซึมแคลเซียมในกระเพาะอาหาร ช่วยลดความเสี่ยงในการหกล้มของผู้สูงอายุ
  • วิตามินเคสอง (Vitamin K-2) | ช่วยพาแคลเซียมที่เกาะหลอดเลือดเข้าสู่กระดูก ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูกและฟัน
  • วิตามินซี (Vitamin C) | ช่วยเพิ่มการสร้างคอลลาเจน ช่วยยับยั้งการสลายของกระดูก
  • แมงกานีส (Manganese) | ช่วยทำให้กระดูกพัฒนาและแข็งแรง
  • วิตามินบี (Vitamin B) | ช่วยทำให้กระดูกแข็งแรง ลดความเสี่ยงในการเกิดกระดูกพรุน
  • โบรอน (Boron) | ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กระดูกและฟัน

สามารถทานเวลาไหนก็ได้ เพราะไม่อึดท้อง ไม่ท้องผูก ไม่จำเป็นต้องใช้กรดในกระเพาะอาหาร

อาหารเสริมแก้ปัญหาท้องผูก

กินแคลเซียม แล้วท้องผูก แก้ไขยังไงดี
Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyzed Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG (Partially Hydrolyzed Guar Gum) ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs: Short-Chain Fatty Acids) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts