น้ำมันทำอาหาร ดีต่อสุขภาพ อะไรดีสุด

น้ำมันทำอาหาร | การปรุงอาหารแต่ละประเภทควรเลือกใช้น้ำมันอะไร? น้ำมันอะไรเหมาะสำหรับการปรุงอาหารด้วยความร้อนสูง? น้ำมันอะไรเหมาะสำหรับการปรุงอาหารด้วยความร้อนปานกลาง? น้ำมันอะไรเหมาะสำหรับการปรุงอาหารด้วยความร้อนต่ำ? น้ำมันสำหรับปรุงอาหารที่มีขายตามท้องตลาดมีมากมายหลายชนิด วิธีการเลือกควรพิจารณาคุณสมบัติและส่วนประกอบให้ครอบคลุม อย่าดูแค่มุมใดมุมนึงเท่านั้น

  • ผ่านกรรมวิธี หรือ ไม่ผ่านกรรมวิธี | Refined – Unrefined
  • อุณหภูมิที่กลายเป็นไอ | Smoke Point
  • ไขมันอิ่มตัว | Saturated Fat
    • สายยาว | Long Chain Fatty Acid
    • สายปานกลาง | Medium Chain Fatty Acid
    • สายสั้น | Short Chain Fatty Acid
  • ไขมันไม่อิ่มตัว | Unsaturated Fat
    • ไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว | Mono Unsaturated Fat
      • โอเมก้าเก้า | Omega-9
    • ไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน | Poly Unsaturated Fat
      • โอเมก้าสาม | Omega-3
      • โอเมก้าหก | Omega-6
  • สารพฤษเคมีหรือส่วนประกอบเฉพาะตัว | Phytonutrient – Unique Component

อาหารเช้า Breakfast | ควรกินอะไร? ไม่ควรกินอะไร?

น้ำมันทำอาหาร | ยิ่งอุณหภูมิสูงยิ่งไม่ดี

วิธีการปรุงอาหารความร้อนยิ่งสูงยิ่งไม่ดีต่อสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นไมโครเวฟ ปิ้ง ย่าง อบ ทอด ผัดไฟแดง ต่อให้อาหารนั้นจะเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขนาดไหน ถ้าเอาไปปรุงด้วยความร้อนสูงก็จะกลายเป็นอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพอยู่ดี

ขนมทอด ของทอด อาหารทอด | อร่อยแต่ไม่ดีกับสุขภาพ

น้ำมันทำอาหาร ดีต่อสุขภาพ อะไรดีสุด
วิธีเลือกน้ำมันสำหรับปรุงอาหารประเภทต่างๆ

น้ำมันทำอาหาร | ทอด

อุณหภูมิสูง

  • น้ำมันอะโวคาโด
  • น้ำมันปาล์ม
  • น้ำมันมะกอก

อุณหภูมิปานกลาง

  • น้ำมันมะพร้าว
  • น้ำมันหมู

อุณหภูมิต่ำ

  • น้ำมันรำข้าว

น้ำมันสำหรับทอด | อะไรดีกับสุขภาพ อะไรไม่ดีกับสุขภาพ

น้ำมันทำอาหาร | ผัด

อุณหภูมิสูง

  • น้ำมันอะโวคาโด
  • น้ำมันปาล์ม
  • น้ำมันมะกอก

อุณหภูมิปานกลาง

  • น้ำมันมะพร้าว
  • น้ำมันหมู

อุณหภูมิต่ำ

  • น้ำมันรำข้าว

น้ำมันสำหรับผัด | อะไรดีกับสุขภาพ อะไรไม่ดีกับสุขภาพ

น้ำมันทำอาหาร | ความร้อนต่ำหรือไม่มีความร้อน

วิธีการปรุงอาหารด้วยความร้อนต่ำหรือไม่มีความร้อน เช่น ต้ม นึ่ง ตุ๋น ยำ สลัด

  • น้ำมันคาโนล่า
  • น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์
  • น้ำมันอะโวคาโด
  • น้ำมันมะกอก

น้ำมันทำสลัด | อะไรดีกับสุขภาพ อะไรไม่ดีกับสุขภาพ

น้ำมันทำอาหาร | วิธีเก็บรักษา

ที่ไหนก็ได้

  • น้ำมันปาล์ม
  • น้ำมันมะพร้าว
  • น้ำมันหมู

ที่เย็น-แห้ง-มืด-ปิดฝาสนิท

  • น้ำมันอะโวคาโด
  • น้ำมันคาโนล่า
  • น้ำมันมะกอก
  • น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์
  • น้ำมันรำข้าว

น้ำตาล ต่อวัน ไม่ควรเกินกี่กรัม กี่ช้อนโต๊ะ

อาหารเสริมไขมันที่ร่างกายต้องการ

น้ำมันทำอาหาร ดีต่อสุขภาพ อะไรดีสุด
Bio Active Lipids

Bio Active Lipids | อาหารเสริมน้ำมันปลาเกรดการแพทย์ มีส่วนประกอบ ดังนี้

  1. Concentrated fish-omega3 triglycerides = 1000mg
  2. equiv. Eicosapentaenoic acid (EPA) = 360mg
  3. equiv. Docosahexaenoic acid (DHA) = 240mg
Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyzed Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG (Partially Hydrolyzed Guar Gum) ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs: Short-Chain Fatty Acids) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts