เอนไซม์ ไลเปส – Lipase Enzyme | คือ? ย่อยอะไร? พบได้ที่ไหน?

เอนไซม์ ไลเปส หรือ เอนไซม์ ไลเพส หรือ Lipase Enzyme คือ เอนไซม์ชนิดนึงที่ร่างกายมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเร่งปฎิกิริยาการย่อยอาหารประเภทไขมันให้เป็นกรดไขมัน หรือ ไขมันตัวใหญ่ให้เป็นไขมันตัวเล็ก

เอนไซม์ย่อยอาหาร – Digestive Enzyme | คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

เอนไซม์ ไลเปส – Lipase Enzyme | ย่อยอะไร

เอนไซม์ไลเปส ทำหน้าที่ ย่อยอาหารประเภทไขมันให้เป็นกรดไขมัน โดยพบอยู่ในอาหารหลายประเภท เพียงแต่ว่าจะมากน้อยหรือเป็นประเภทอะไร ยกตัวอย่างเช่น

  • น้ำมัน | น้ำมันคาโนล่า น้ำมันมะกอก น้ำมันรำข้าว น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปลา น้ำมันปาล์ม
  • เนื้อสัตว์ | เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อแพะ เนื้อควาย เนื้อเป็ด ปลา กุ้ง หอย
  • นม | นมวัว นมควาย นมแพะ นมถั่วเหลือง นมพิสทาชิโอ นมโอ๊ต นมข้าวโพด
  • ไข่ | ไข่ไก่ ไข่เป็ด ไข่นกกระทา ไข่ปลา
  • ผลิตภัณฑ์จากนม | ชีส โยเกิร์ต วิปครีม เนย คัสตาร์ด
  • ถั่ว | ถั่วแดง ถั่วเขียว ถั่วดำ ถั่วขาว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วแระ ถั่วลูกไ่ก่ ถั่วปากอ้า ถั่วลันเตา
  • ธัญพืช | งา โอ๊ต อัลมอนต์ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ เมล็ดฟักทอง เมล็ดทานตะวัน ลูกเดือย
  • ผลไม้ | อะโวคาโด มะกอก ทุเรียน ข้าวโพด มะม่วง

เอนไซม์ไลเปสมีมากมายหลายประเภทย่อยที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น

  • Bile Salt-Dependent Lipase
  • Pancreatic Lipase
  • Gastric Lipase
  • Lysosomal Lipase
  • Hepatic Lipase
  • Endothelial Lipase
  • Lipoprotein Lipase

อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยอาหาร – Digestive Enzyme Supplement

เอนไซม์ ไลเปส - Lipase Enzyme | คือ? ย่อยอะไร? พบได้ที่ไหน?
เอนไซม์ไลเปส – Lipase Enzyme | คือ? ย่อยอะไร? พบได้ที่ไหน?

เอนไซม์ ไลเปส – Lipase Enzyme | พบที่ไหน

  • กระเพาะอาหาร | พบในน้ำย่อย ถูกผลิตมาจากเซลล์ผนังกระเพาะอาหาร
  • ลำไส้เล็ก | พบในน้ำย่อย ถูกผลิตมาจากตับอ่อน

เอนไซม์จากธรรมชาติ มีอยู่ในอะไรบ้าง?

เอนไซม์ ไลเปส – Lipase Enzyme | ค่าปกติ

การตรวจวัดระดับเอนไซม์ไลเปสในเลือด หรือ Lipase Blood Test หรือ Serum Lipase คือ การตรวจทางห้องปฎิบัติการชนิดนึงที่เอาไว้ตรวจดูว่ามีเอนไซม์ไลเปสเหลือในเลือดเท่าไหร่ โดยการตรวจนี้มักใช้เพื่อวินิจฉัยหรือติดตามอาการ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง หรือ ปัญหาการทำงานของตับอ่อน นอกจากนี้ยังเอาไว้ตรวจปัญหาทางเดินอาหารบางอย่างด้วย

ศูนย์การแพทย์ของมหาวิทยาลัยโรเชสเตอร์ หรือ URMC – University of Rochester Medical Center แนะนำว่าค่าปกติของไลเปสในเลือด คือ

  • ผู้ใหญ่อายุไม่เกิน 60 ปี เท่ากับ 10 – 140 Units per Liter (U/L)
  • ผู้ใหญ่อายุเกิน 60 ปี เท่ากับ 24 – 151 Units per Liter (U/L)

ถ้ามีมากเกินไปก็สามารถบอกถึงปัญหาสุขภาพอะไรบางอย่าง ถ้ามีน้อยเกินไปก็สามารถบอกถึงปัญหาสุขภาพอะไรบางอย่าง ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อแปลผลและวินิจฉัยเฉพาะบุคคล

เอนไซม์ อะไมเลส – Amylase Enzyme | คือ? ย่อยอะไร? พบได้ที่ไหน?

อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยเกรดการแพทย์

Wellness Hub – Digest

Digest | อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยอาหารเกรดการแพทย์ มีส่วนประกอบ ดังนี้

  1. Amylase = 7,200U
  2. Protease = 1,800U
  3. Lactase = 1,200U
  4. Lipase = 300U
  5. Cellulase = 60U
  6. Bromelain = 120GDU
  7. Pepsin 1:3000 NF = 50mg
  8. Trypsin = 12,500IU
Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyze Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts