น้ำตาลต่ำ – Hypoglycemia VS Hyperglycemia – น้ำตาลสูง

Hypoglycemia VS Hyperglycemia | คืออะไร? เหมือนกันยังไง? ต่างกันยังไง?

Hypoglycemia คือ ภาวะที่น้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป ทำให้ไม่เพียงพอกับการใช้งาน

Hyperglycemia คือ ภาวะที่น้ำตาลในเลือดสูงเกินไป ทำให้เป็นพิษต่อหลอดเลือด

ค่าน้ำตาลในเลือด | ต่ำ VS ปกติ VS สูง

อาการ

Hypoglycemia

  1. เหงื่อแตก ตัวสั่น มือสั่น หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น
  2. อ่อนเพลีย เหนื่อย ไม่มีแรง
  3. ปวดศีรษะ อยากนอน
  4. หิวโซ
  5. หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน
  6. หน้าซีด
  7. ไม่มีสมาธิ
  8. ตาพร่า มองเห็นไม่ชัด

Hyperglycemia

  1. หิวน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย
  2. หิวบ่อย กินบ่อยแต่ก็ไม่ค่อยมีแรง
  3. น้ำหนักลดลง
  4. การมองเห็นเริ่มมีปัญหา ตาพร่ามัว
  5. มีอาการชาตามปลายมือปลายเท้า
  6. ความดันสูงขึ้น
  7. ผิวแห้ง
  8. ติดเชื้อบ่อย เป็นแผลแล้วหายช้า

อินซูลิน Insulin | คืออะไร? ทำหน้าที่อะไร? หลั่งตอนไหน?

สาเหตุ

Hypoglycemia

  1. อดอาหารเป็นเวลานาน
  2. กินอาหารไม่เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ
  3. กินน้ำตาลเยอะ อินซูลินเยอะ น้ำตาลตก
  4. ออกกำลังกายหนักเกินไปหรือนานเกินไป
  5. ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
  6. ผลข้างเคียงจากยา
  7. ช่วงมีประจำเดือน

Hyperglycemia

  1. อ้วนลงพุง มีไขมันในช่องท้องเยอะ
  2. กินน้ำตาลเยอะ
  3. กินผลไม้รสหวานเยอะ
  4. กินจุกจิก
  5. กินอิ่มจุก
  6. กินมื้อดึกบ่อย
  7. การตั้งครรภ์

โรคเบาหวาน | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

รักษา

Hypoglycemia

  1. เลือกกินคาร์โบไฮเดรตที่มีกากใยก่อนเสมอ
    • ถั่ว
    • ลูกเดือย
    • ข้าวโอ๊ต
    • มันหวาน
    • งา
    • ควินัว
    • อัลมอนต์
    • เม็ดมะม่วงหิมพานต์
    • เมล็ดฟักทอง
  2. ดื่มน้ำเปล่าที่สะอาดและมีแร่ธาตุ
  3. นั่งหรือเอนหลังให้อยู่ในท่าทางที่สบาย
  4. อดทนรอสักพักถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นสามารถดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเล็กน้อย
  5. ถ้ายังไม่รู้สึกดีขึ้นอีกให้รีบไปโรงพยาบาล

Hyperglycemia

  1. กินอาหารที่ดัชนีน้ำตาลต่ำและกินแต่พอดี
  2. เพิ่มการกินกากใยอาหารเข้าไปทุกมื้ออาหาร
  3. เลิกกินน้ำตาลทุกประเภท
  4. เรียงลำดับการกิน
    • กินผักก่อนเสมอ
    • ข้าวเนื้อสัตว์ตาม
    • ขนมหวานหรือผลไม้เป็นอย่างสุดท้าย
  5. กินอาหารเป็นมื้อ อย่ากินจุกจิก หยุดกินของว่าง มีเวลาหยุดกินระหว่างมื้อ
  6. ควบคุมช่วงเวลาการกินให้น้อยกว่าช่วงเวลาหยุดกิน (IF : Intermittent Fasting)
  7. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและหลากหลาย
  8. ลดพุง ลดไขมันในช่องท้อง ควบคุมน้ำหนักให้เหมาะสมกับส่วนสูง (BMI = 23)
  9. บริหารความเครียดให้เหมาะสม

Glycemic Load VS Glycemic Index

ป้องกัน

Hypoglycemia

  1. รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
  2. อุจจาระทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 รอบ
  3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและหลากหลาย
  4. กลางวันตื่นตัว กลางคืนนอนหลับ
  5. บริหารอารมณ์ให้นิ่งสงบ

Hyperglycemia

  1. รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
  2. อุจจาระทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 รอบ
  3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและหลากหลาย
  4. กลางวันตื่นตัว กลางคืนนอนหลับ
  5. บริหารอารมณ์ให้นิ่งสงบ

น้ำตาล” ที่ทำลายสุขภาพน้อยที่สุด?

อาหารเสริมช่วยควบคุมน้ำตาลในเลือด

Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyzed Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG (Partially Hydrolyzed Guar Gum) ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs: Short-Chain Fatty Acids) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts