ลำไส้รั่ว Leaky Gut | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

ลำไส้รั่ว หรือ Leaky Gut Syndrome | คืออะไร? สาเหตุเกิดมาจากอะไร? ถ้าเป็นแล้วมีวิธีรักษายังไง? วิธีป้องกันและลดความเสี่ยงทำยังไง?

ลำไส้รั่ว | คือ

Leaky Gut Syndrome คือ ภาวะที่ผนังลำไส้มีช่องว่างมากกว่าปกติ ทำให้แทนที่จะมีเพียงแค่ “น้ำและสารอาหาร” เท่านั้นที่ผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้ กลายเป็น “แบคทีเรีย เชื้อโรค สารพิษ เศษอาหารที่ไม่ย่อย” ก็สามารถผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้เช่นกัน ทำให้เกิดผลเสียต่างๆ ตามมามากมาย

ลำไส้รั่ว Leaky Gut | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน
ลำไส้ปกติ VS ลำไส้รั่ว

ลำไส้รั่ว | อาการ

เมื่อเซลล์ของผนังลำไส้เกิดความผิดปกติ ทำให้สิ่งแปลกปลอมสามารถผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้ ส่งผลทำให้เกิดการอักเสบ ภูมิแพ้อาหาร-ภูมิแพ้อาหารแฝง ระบบภูมิต้านทานของร่างกาย และความผิดปกติต่างๆ ทั่วร่างกาย ดังนี้

  • สมอง | โรคซึมเศร้า, โรควิตกกังวล, โรคสมาธิสั้น, โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
  • ผิวหนัง | สิวเรื้อรัง, โรคผิวหนังอักเสบโรซาเซีย, โรคผื่นแพ้อักเสบ, โรคสะเก็ดเงิน, โรคผิวหนังอักเสบ
  • ต่อมไทรอยด์ | โรคไทรอยด์ต่ำ, โรคต่อมไทรอยด์อักเสบเรื้อรังจากภูมิคุ้มกัน, โรคเกรฟส์, โรคอ้วน
  • ระบบย่อยอาหาร | ท้องผูก, ท้องเสีย, โรคลำไส้อักเสบ, ท้องอืด
  • ต่อมหมวกไต | ภาวะต่อมหมวกไตล้า, โรคแอดดิสัน
  • ข้อต่อ | โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์, โรคไฟโบรมัยอัลเจีย
  • ระบบหายใจ | โรคไซนัสอักเสบ, โรคหอบหืด
  • ระบบภูมิต้านทาน | โรคแพ้ภูมิตัวเอง

การทดสอบลำไส้รั่ว

Lactulose and Mannitol Absorption Test คือ วิธีการทดสอบว่ามีโอกาสเป็นลำไส้รั่วหรือเปล่า โดยใช้หลักการเปรียบเทียบอัตราส่วนของน้ำตาล 2 ชนิด ในปัสสาวะหลังจากรับประทานไป 6 ชั่วโมง

  • น้ำตาลแมนนิทอล | โมเลกุลขนาดเล็ก / ดูดซึมเร็ว / เพื่อทดสอบการดูดซึมทั่วไป / เปรียบเหมือนสารอาหาร
  • น้ำตาลแล็กทูโลส | โมเลกุลขนาดใหญ่ / ไม่ดูดซึม / เพื่อทดสอบขนาดช่องว่าของผนังลำไส้ / เปรียบเหมือนสารปนเปื้อน

ลำไส้รั่ว | สาเหตุ

ปัจจุบันสาเหตุของภาวะลำไส้รั่วยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัด มีหลักการต่างๆ ที่สามารถทำให้สุขภาพลำไส้แย่ลงและนำไปสู่ความผิดปกติในที่สุด ดังนี้

พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

  • รับประทานอาหารที่แพ้
  • อดอาหารเป็นเวลานาน
  • ความเครียดที่มากเกินไป นานเกินไป ถี่เกินไป
  • รับประทานน้ำตาลในปริมาณมาก
  • ขาดสารอาหาร
  • ทารกที่ดื่มนมวัวหรือนมถั่วเหลืองแทนที่จะดื่มนมแม่
  • ทารกที่รับประทานอาหารก่อนอายุ 4 เดือน
  • ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก

การติดเชื้อในลำไส้

  • ภาวะจุลินทรีย์ในลำไส้เสียสมดุล (Gut Dysbiosis)
  • ภาวะจุลินทรีย์ในลำไส้เจริญเติบโตมากผิดปกติ (SIBO)
  • โรคป่วงอ่อน (Tropical Sprue)
  • อุจจาระร่วง
  • โรคเอดส์

ยาหรือสมุนไพร

  • รับประทานยาปฎิชีวนะติดต่อกันเป็นเวลานาน
  • รับประทานยาลดกรดในกระเพาะอาหารติดต่อกันเป็นเวลานาน
  • รับประทานยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ติดต่อกันเป็นเวลานาน
  • การให้สารอาหารทางเส้นเลือดติดต่อกันเป็นเวลานาน
  • เคมีบำบัด รังสีรักษา

สารพิษ

  • สารพิษจากภายนอกร่างกาย

อุบัติเหตุ

  • คลอดก่อนกำหนด
  • ภาวะลำไส้ขาดเลือด
ลำไส้รั่ว Leaky Gut | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน
Leaky Gut Syndrome | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

ลำไส้รั่ว | รักษา

Remove | กำจัดสิ่งที่ทำให้สุขภาพลำไส้แย่ลง

  • หยุดรับประทานอาหารที่แพ้หรือแพ้แฝง
  • หยุดรับประทานน้ำตาล
  • หยุดรับประทานคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป
  • หยุดรับประทานนมวัว
  • หยุดรับประทานอาหารรสเผ็ด
  • หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
  • หลีกเลี่ยงการรับประทานยาหรือสมุนไพรเป็นประจำต่อเนื่อง
  • หลีกเลี่ยงความเครียดที่มากเกินไปทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ
  • หลีกเลี่ยงรับประทานยาปฎิชีวนะ (Antibiotic) หันมารับประทานเป็นสารจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและยับยั้งการอักเสบ เช่น
    • ขมิ้นชัน
    • วาซาบิ
    • เบอร์แบร์รีน
  • สวนล้างลำไส้ (Colon Hydrotherapy)

Rebalance | ปรับสมดุลจุลินทรีย์ภายในลำไส้ให้เหมาะสม

  • รับประทานพรีไบโอติก (Prebiotic)
  • รับประทานโพรไบโอติก (Probiotic)
  • รับประทานโพสไบโอติก (Postbiotic)

Replenish | ส่งเสริมทำให้สุขภาพลำไส้แข็งแรง

  • รับประทานอาหารช้าๆ เคี้ยวนานๆ แล้วค่อยกลืน
  • รับประทานอาหารปริมาณน้อยๆ แต่บ่อยๆ
  • รับประทานเอนไซม์ช่วยย่อย (Digestive Enzyme)
  • รับประทานผักเป็นหลัก ผลไม้เป็นรอง (ไฟเบอร์)
  • หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำหลังจากมื้ออาหารปริมาณมาก
  • หลีกเลี่ยงรับประทานยาลดกรดในกระเพาะอาหาร (Proton Pump Inhibitor)
  • ไม่นอนราบหลังรับประทานอาหารเสร็จ ให้ยืน-เดิน-นั่งตัวตรง

Restore | ส่งเสริมทำให้เซลล์ผนังลำไส้กลับมาแข็งแรง

  • รับประทานโปรตีนให้เพียงพอ โดยเฉพาะกรดอะมิโนกลูตามีน (กินโปรตีน วันละเท่าไหร่)
  • รับประทานกรดไขมันโอเมก้า-สาม เช่น น้ำมันปลา น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์
  • รับประทานวิตามินรวม-เกลือแร่รวม
  • รับประทานสารต้านอนุมูลอิสระให้หลากหลาย
    • โคเอ็นไซม์ คิวเท็น (Coenzyme Q10)
    • วิตามินดี (Vitamin-D)
    • กรดอัลฟา ไลโปอิก (Alpha-Lipoic Acid)
    • แอสต้าแซนทิน (Astaxanthin)
    • วิตามินซี (Vitamin-C)
    • วิตามินอี (Vitamin-E)
    • เรสเวอราทรอล (Resveratrol)

ลำไส้รั่ว | ป้องกัน

  1. ควบคุมช่วงเวลารับประทานหรือหยุดรับประทานให้เหมาะสม (IF : Intermittent Fasting)
  2. ออกกำลังกายให้หลากหลาย เพียงพอ สม่ำเสมอ
  3. รับประทานอาหารแต่พออิ่ม ไม่อิ่มจุก
  4. นอนหลับให้มีคุณภาพ
  5. บริหารความเครียดให้เหมาะสม
  6. ลด-ละ-เลิก สูบบุหรี่
  7. รับประทานผักและผลไม้หลากสีให้ได้ 400 กรัม/วัน
  8. รับประทานอาหารหมักที่มีจุลินทรีย์ที่ดี
    • นัตโตะ
    • คอมบูชา
    • โยเกิร์ต
    • คีเฟอร์
    • เทมเป้
    • กิมจิ
    • มิโซะ
    • ข้าวหมาก
  9. หลีกเลี่ยงการรับประทานยาหรือสมุนไพรเป็นประจำต่อเนื่อง
  10. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารดัดแปลงเชิงอุตสาหกรรม
    • บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
    • ลูกชิ้น
    • หมูยอ
    • ไส้กรอก
    • แหนม
    • อาหารไมโครเวฟ
  11. หลีกเลี่ยงการรับประทานนมวัวและผลิตภัณฑ์จากนมวัว
  12. หลีกเลี่ยงการรับประทานน้ำตาลในปริมาณมาก
  13. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีกลูเตน

อาหารเสริมสำหรับลำไส้รั่ว

Wellness Hub – Gut Cleanse

Gut Cleanse | สารสกัดจากพืชช่วยยับยั้งเชื้อโรคในลำไส้เกรดการแพทย์มีส่วนประกอบ คือ

  1. Berberine HCl = 125mg
  2. Cinnamon Bark Extract = 125mg
  3. Turmeric Extract (Curcuminoids 95%) = 125mg
  4. Wasabi Extract = 125mg
Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyzed Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว
Wellness Hub – Digest

Digest | อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยอาหารเกรดการแพทย์มีส่วนประกอบ คือ

  1. Amylase = 7,200U
  2. Protease = 1,800U
  3. Lactase = 1,200U
  4. Lipase = 300U
  5. Cellulase = 60U
  6. Bromelain = 120GDU
  7. Pepsin 1:3000 NF = 50mg
  8. Trypsin = 12,500IU
Wellness Hub – Synbiotic

Synbiotic | อาหารเสริมซินไบโอติก (Synbiotic) เกรดการแพทย์มีส่วนประกอบ คือ

  1. Bifidobacterium Lactis = 2.75 Billion CFU
  2. Bifidobacterium Longum = 2.5 Billion CFU
  3. Lactobacillus Plantarum 299 v = 5 Bilion CFU
  4. Lactobacillus Rhamnosus = 2.5 Bilion CFU
  5. Lactobacillus Paracasei = 2 Bilion CFU
  6. Lactobacillus Acidophilus = 2 Billion CFU
  7. Lactobacillus Reuteri = 1.75 Bilion CFU
  8. Lactobacillus Helveticus = 1 Billion CFU
  9. Lactobacillus Casei = 3.5 Bilion CFU
  10. Streptococcus Thermophilus = 2 Bilion CFU
  11. Inulin = 30.50%
  12. Fiber = 30.50%
  13. Galactooligosacharide GOS = 30.50%
Wellness Hub – NRF2 Activator

NRF2 Activator | อาหารเสริมกระตุ้นระบบต้านอนุมูลอิสระเกรดการแพทย์มีส่วนประกอบ คือ

  1. Resveratrol = 150mg
  2. Turmeric Extract (Curcuminoids 95%) = 100mg
  3. Green Tea Extract = 100mg
  4. Broccolli Extract (Contain Sulforaphane 0.5%) = 100mg
  5. Black Pepper Extract (Piperine 98%) = 2mg
  6. NADH = 5mg

Similar Posts