อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย | สาเหตุเกิดจากอะไร? วิธีรักษาทำยังไง?

อาหารไม่ย่อย – Indigestion – Dyspepsia | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน

อาหารไม่ย่อย | สาเหตุ

  1. อ้วน | ไขมันส่วนเกินเยอะ อ้วนลงพุง ทำให้เกิดแรงดันไปที่กระเพาะอาหาร อาหารย่อยยากขึ้น
  2. รับประทานเยอะเกินไป | กินอิ่มจุก กินอิ่มเกิน ทำให้อาหารย่อยลำบาก ระบบย่อยอาหารทำงานหนัก
  3. รับประทานเร็วเกินไป | เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด กินเร็ว กลืนเร็ว ทำให้อาหารย่อยลำบาก
  4. ดื่มน้ำเยอะระหว่างมื้ออาหาร | น้ำทำให้ความเข้มข้นของกรดในกระเพาะอาหารลดลง
  5. รับประทานมื้อดึก | เวลากลางคืนระบบย่อยอาหารทำงานลดลง โดยเฉพาะก่อนนอน
  6. กรดน้อยเกิน | กรดในกระเพาะอาหารหลั่งน้อยเกินไป ไม่เพียงพอกับการย่อยอาหาร
  7. กรดมากเกิน | กรดในกระเพาะอาหารหลั่งเยอะเกินไป กระตุ้นทำให้กรดไหลย้อน การย่อยลดลง
  8. รับประทานจุกจิก | กินแล้วกินอีก กระตุ้นทำให้ร่างกายหลั่งกรดในกระเพาะออกมาเยอะ ตลอดเวลา
  9. ตั้งครรภ์ | เด็กในท้อง ทำให้เกิดแรงดันไปที่กระเพาะอาหาร รวมฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไป
  10. คาเฟอีน | ชา กาแฟ โกโก้ กระตุ้นให้กรดหลั่งเยอะขึ้น และผ่อนคลายกล้ามเนื้อรูหูดหลอดอาหาร
  11. แอลกอฮอล์ | เหล้า เบียร์ ไวน์ กระตุ้นให้กรดหลั่งเยอะขึ้น และผ่อนคลายกล้ามเนื้อรูหูดหลอดอาหาร
  12. อาหารย่อยยาก | อาหารทอด น้ำมันเยิ้ม ทำให้ระบบย่อยอาหารทำงานหนักขึ้น ใช้เวลาย่อยนาน
  13. อาหารเผ็ดเกินไป | แคปไซซินในพริกทำให้อาหารย่อยช้าลง อาหารอยู่ในกระเพาะนานขึ้น
  14. เครียด กังวล หดหู่ ซึมเศร้า | อารมณ์และความรู้สึกส่งผลต่อระบบย่อยอาหารทำงานลดลง
  15. อายุเยอะขึ้น | ผู้สูงอายุ คนแก่ ประสิทธิภาพการย่อยอาหารลดลง ฟันมีปัญหา กล้ามเนื้อลดลง
  16. ตั้งครรภ์ | เด็กในท้อง ทำให้เกิดแรงดันไปที่กระเพาะอาหาร รวมฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงไป
  17. ยาที่รับประทานเป็นประจำ | ยาบางชนิดมีผลข้างเคียงทำให้ประสิทธิภาพของการย่อยลดลง เช่น
    • NSAIDs – ยาแก้ปวด แก้ไข้
    • Antibiotic – ยาปฎิชีวนะ
  18. ปัญหาสุขภาพ | ปัญหาสุขภาพบางอย่างมีผลทำให้ประสิทธิภาพของการย่อยลดลง เช่น
    • ลำไส้แปรปรวน
    • นิ่วในถุงน้ำดี
    • ถุงน้ำดีอักเสบ
    • ติดเชื้อในทางเดินอาหาร
    • กระเพาะอาหารบีบตัวช้า
    • ลำไส้อุดตัน
    • แบคทีเรียในลำไส้เจริญเติบโตผิดปกติ

เอนไซม์จากธรรมชาติ มีอยู่ในอะไรบ้าง?

อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?
อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย | เกิดจากอะไร? แก้ไขยังไง?

อาหารไม่ย่อย | รักษา

คนส่วนใหญ่จะมีปัญหานี้ไม่บ่อย นานๆ ที แต่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออายุมากขึ้น ถ้ายังไม่รุนแรงหรือเรื้อรังสามารถดูแลตัวเองที่บ้านได้ ดังนี้

Short Term | ระยะสั้น

  1. ทำให้อาหารย่อย | อาหารไม่ย่อยก็ต้องทำให้อาหารย่อยถึงจะหาย อาหารทั้งหมดที่รับประทานเข้าไปแล้ว ถ้าไม่ออกข้างล่าง (อุจจาระ) ก็ย้อนกลับออกข้างบน (อาเจียน)
    • รับประทานเอนไซม์ช่วยย่อยอาหาร
    • อย่านอน ให้นั่ง หรือเดินเบาๆ
    • หายใจลึกและยาว ทำใจให้สบายๆ เบาๆ นิ่งสงบ
  2. ทำให้หายปวด | อาหารไม่ย่อยทำให้กระเพาะบีบตัวมากขึ้น กรดไหลย้อนขึ้นมาบนหลอดอาหารมากขึ้น เกิดแรงดันย้อนกลับขึ้นบนช่องท้องส่วนบน ทำให้ปวด แสบ ร้อน เรอเปรี้ยว
    • ยา
      • ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
        • Antacids
        • H2 Blockers (Histamine 2 Blockers)
        • PPIs (Proton Pump Inhibitors)
      • ยาเพิ่มการบีบตัวของทางเดินอาหาร
        • Prokinetics
    • ไม่ใช่ยา
      • เบกกิ้งโซดา – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร
      • น้ำขิง – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร
      • กล้วย – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร
      • โหระพา – ช่วยบรรเทาอาการคลื่นไส้ ลดปวด ยับยั้งการอักเสบ
      • อบเชย – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการคลื่นไส้ และลดปวด
      • ว่านหางจระเข้ – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการคลื่นไส้ และลดปวด
      • รากชะเอมเทศ – ช่วยลดอาการหดเกร็งของกระเพาะอาหารและยับยั้งการอักเสบ
      • เปปเปอร์มิ้น – ช่วยลดอาการคลื่นไส้ แต่ไม่เหมาะกับคนที่เป็นกรดไหลย้อนอยู่แล้ว
      • คาโมมายด์ – ช่วยลดกรดในกระเพาะอาหารและลดปวด แต่ไม่เหมาะกับคนที่เป็นโรคหัวใจและรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดเป็นประจำ
      • น้ำมะนาว – ช่วยเพิ่มกรดในกระเพาะอาหาร ไม่เหมาะกับคนที่กรดเกิน
      • น้ำส้มสายชูหมักจากแอปเปิ้ล – ช่วยเพิ่มกรดในกระเพาะอาหาร ไม่เหมาะกับคนที่กรดเกิน

Long Term | ระยะยาว

  1. หาสาเหตุ | แต่ละอาจจะเหมือนกันหรือไม่เหมือนกัน ให้สังเกตร่างกายตัวเองว่าสาเหตุเกิดจากอะไร?
  2. ปรับพฤติกรรม | อะไรที่ทำให้อาหารย่อยยากขึ้นก็ลดลง อะไรที่ทำให้อาหารย่อยง่ายขึ้นก็เพิ่มขึ้น
  3. พบแพทย์ | ถ้าทำทุกอย่างแล้วไม่ดีขึ้นควรไปปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

เอนไซม์ย่อยอาหาร – Digestive Enzyme | คืออะไร? มีอะไรบ้าง?

อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยเกรดการแพทย์

Wellness Hub – Digest

Digest | อาหารเสริมเอนไซม์ช่วยย่อยอาหารเกรดการแพทย์ มีส่วนประกอบ ดังนี้

  1. Amylase = 7,200U
  2. Protease = 1,800U
  3. Lactase = 1,200U
  4. Lipase = 300U
  5. Cellulase = 60U
  6. Bromelain = 120GDU
  7. Pepsin 1:3000 NF = 50mg
  8. Trypsin = 12,500IU
Wellness Hub – Good Gut

Good Gut คือ อาหารเสริมใยอาหารประเภทละลายน้ำ (Water Soluble Dietary Fiber) ชนิดพาร์เชียลลี ไฮโดรไลซ์ กัวร์กัม (PHGG : Partially Hydrolyze Guar Gum) ที่สกัดมาจากเมล็ดกัวร์ (Guar Bean) ประเทศญี่ปุ่น ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านนี้มายาวนานกว่า 35 ปี ทำให้มั่นใจได้ว่ามาจากธรรมชาติ ปราศจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม การสังเคราะห์ และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

ได้รับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและด้านอาหาร ดังนี้

  • FDA | องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา
  • Low – FODMAP | อาหารย่อยง่าย ไม่ท้องอืด ไม่ท้องผูก ไม่ท้องเฟ้อ ไม่ท้องเสีย ไม่ปวดท้อง
  • GMO Free | ไม่มีพืชดัดแปลงพันธุกรรม
  • Allergen Free | ไม่ทำให้เกิดการแพ้
  • VEGAN | มาตรฐานอาหารเจ – มังสวิรัติ – วีแกน
  • HALAL | มาตรฐานอาหารอิสลาม
  • KOSHER | มาตรฐานอาหารยิว

มีงานวิจัยเฉพาะของ PHGG ทั้งในหลอดทดลอง ในสิ่งมีชีวิต และในมนุษย์ ว่ามีคุณประโยชน์ต่างๆ ดังนี้

  1. มีส่วนช่วยทำให้ระบบขับถ่ายทำงานเป็นปกติ
  2. มีส่วนช่วยทำให้ระบบภูมิต้านทานของร่างกายแข็งแรง
  3. มีส่วนช่วยป้องกันโรคอ้วน
  4. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  5. มีส่วนช่วยป้องกันโรคท้องเสีย
  6. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้แปรปรวน (IBS: Irritable Bowel Sysdrome)
  7. มีส่วนช่วยป้องกันโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง (IBD: Inflammatory Bowel Disease)
  8. มีส่วนช่วยป้องกันโรคมะเร็งลำไส้
  9. มีส่วนช่วยเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้
  10. มีส่วนช่วยเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ
  11. มีส่วนช่วยเพิ่มกรดไขมันสายสั้น (SCFAs) ในลำไส้
  12. มีส่วนช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและระดับน้ำตาลในเลือด
  13. มีส่วนช่วยลดค่าดัชนีน้ำตาล (GI: Glycemic Index)
  14. มีส่วนช่วยลดความโหยหลังจากมื้ออาหาร
  15. มีส่วนช่วยลดไขมันส่วนเกินในร่างกาย
  16. มีส่วนช่วยลดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C: Hemoglobin A1C)

ละลายน้ำเปล่าหรือเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ดื่มวันละ 1 ซอง

Similar Posts