ครีมกันแดด สำหรับทาตาโดยเฉพาะ
ครีมกันแดด สามารถทาได้ทุกส่วนในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นหน้า-คอ-แขน-ขา แต่มีบริเวณเดียวที่ไม่สามารถทาได้คือในดวงตา ทั้งๆ ที่ก็เจอแสงเหมือนกันตลอด หน้าเราโดนแสงยังไงตาเราก็โดนแสงยังงั้น เพราะตาเราอยู่บนหน้า
แต่ดวงตาเป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่มักมองข้าม ทั้งๆ ที่ดวงตาและผิวหน้าก็โดนแสงด้วยกัน เราตื่นเช้าอาบน้ำล้างหน้าแล้วทาครีมกันแดด ไม่ว่าจะออกนอกบ้านหรือไม่ออก เราก็ทาเพื่อป้องกันแสงแดด แสงยูวี มาทำร้ายผิวหน้า แต่ดวงตาเราไม่เคยนึกถึงมันเลยว่าต้องการการปกป้องจากแสงแดด แสงยูวี เหมือนกัน
แน่นอนว่าในช่วงที่เราตื่นนอนเราก็ต้องลืมตา ช่วงที่เรานอนหลับเราถึงจะหลับตา ดวงตาของเราจะต้องเจอแสงตลอดเวลากลางวัน ไม่ว่าจะเป็นแสงแดด แสงจากหลอดไฟ และที่สำคัญแสงจากมือถือ แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ที่สถิติล่าสุด (สิงหาคม ปี 2564) นั้นบอกว่าคนไทยใช้อินเตอร์เนทเฉลี่ย วันละ 5 ชั่วโมง ซึ่งนับแล้วเป็นที่อันดับ 3 ของโลก !!!
แสงจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พวกนี้เหมือนเรามองขึ้นฟ้าหาพระอาทิตย์ตรงๆ เลย เพราะถ้าเราไม่มองหน้าจอเราจะเห็นข้อความ-รูปภาพ-วีดีโอ ได้ยังไง แสงก็เข้าตาเราเต็มๆ ถูกไหมครับ
4 อาหารเสริมบำรุงสายตา ที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้
วิธีปกป้องดวงตา
1. ลดการใช้อินเตอร์เนท
อะไรที่ยิ่งใช้มากก็ยิ่งเสื่อมมากเป็นเรื่องปกติ ขับรถเยอะเครื่องก็สึกหรอเร็ว ยางก็หมดเร็ว สายตาเองก็เหมือนกันการพยายามลดเวลาการมองหน้าจอลง ก็เท่ากับลดการเจอแสงตรงๆ ในระยะใกล้ๆ ลองนึกถาพดูว่าเวลาเรามองจอมือถือมีใครถือห่างกว่า 1 เมตร ไหม ขนาดพระอาทิตย์เรายังไม่อยากมองเลย พยายามหนีห่างไกลๆ แต่มือถือเราเอาไฟส่องหน้าส่องตาเราเต็มๆ
2. ใส่แว่นช่วยกรองแสง
ถ้าสามารถลดเวลาในการให้ดวงตาเจอแสงเยอะๆ ได้ก็ดี แต่ถ้าลดไม่ได้ก็ต้องหาแว่นมาช่วยกรองแสงออกไปก่อนขั้นนึง แทนที่ดวงตาจะรับเต็มๆ
แว่นกันแดด – ก็ช่วยกรองแสงแดดเวลาเราต้องออกไปข้างนอก เวลาขับรถตอนกลางวัน
แว่นถนอมสายตา – ก็ช่วยกรองแสงเวลาเราเจอแสงจากในอาคาร แสงจากหลอดไฟ แสงจากมือถือ แสงจากแท็บเล็ต แสงจากคอมพิวเตอร์
3. กินสารต้านอนุมูลอิสระ
ลดการใช้งานดวงตาก็แล้ว กรองแสงที่จะเข้าดวงตาก็แล้ว สุดท้ายคือการกินสารต้านอนุมูลอิสระที่เข้าไปช่วยปกป้องดวงตา บำรุงสายตา
ครีมกันแดด สำหรับทาตา คือ สารต้านอนุมูลอิสระที่ออกฤทธิ์ที่ดวงตา
เบาหวานขึ้นตา | อาการ-สาเหตุ-รักษา-ป้องกัน
สารต้านอนุมูลอิสระสำหรับดวงตา
สารต้านอนุมูลอิสระก็เหมือนครีมกันแดดมาทาที่ตา คอยปกป้องการเสียหายจากการใช้งานดวงตา มีดังนี้
- เบต้า แคโรทีน (Beta Carotene) – พบมากในผักที่มีสีเขียวเข้ม และผลไม้ที่มีสีเหลือง สีส้ม เช่น ผักหวาน ผักตำลึง ผักกวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ชะอม บร็อกโคลี่ มะระ ผักคะน้า แครอต ฟักทอง หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดอ่อน มะม่วงสุก มะละกอสุก มะเขือเทศสุก แตงไท และอะโวคาโด
- ดีเอชเด (DHA) และอีพีเอ (EPA) – พบมากในอาหารจำพวกปลา โดยเฉพาะปลาทะเลน้ำเย็นและลึก ได้แก่ ปลาแซลมอน ปลาทูน่า ปลาแมคเคอเรล และปลาซาร์ดีน รวมถึงอาหารทะเล เช่น หอยนางรม
- จีแอลเอ (GLA) – พบมากในน้ำมันอีฟนิงพริมโรส น้ำมันโบราจ ตังกุย ขิง
- ลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) – พบมากในดอกดาวเรือง โกจิเบอร์รี่ (เก๋ากี้) กะหล่ำ ผักโขม ถั่วลันเตา ต้นอ่อนกะหล่ำดาว ถั่วพิสตาชิโอ บรอกโคลี ข้าวโพด ไข่ แครอท ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักปวยเล้ง ผักกาดหอม ผักโขม แตงกวาทั้งเปลือก ซูกินีทั้งเปลือก ถั่วแขก อะโวคาโด มัสตาร์ด ฟักทอง
- วิตามินเอ (Vitamin A) – พบมากในน้ำมันตับปลา เครื่องในสัตว์ ไข่แดง นมและผลิตภัณฑ์จากนม แครอท ผักโขม ข้าวโพด มันฝรั่ง ฟักทอง คะน้า
- วิตามินซี (Vitamin C) – พบมากในส้ม สับปะรด มะขาม สตอร์เบอร์รี่ ฝรั่ง มะนาว มะเขือเทศ
- วิตามินอี (Vitamin E) – พบมากในต้นอ่อนของเมล็ดพืช เช่น ต้นอ่อนทานตะวัน ต้นอ่อนข้าวสาลี ต้นอ่อนถั่วลันเตา ต้นอ่อนหัวไช้เท้า
- สังกะสี (Zinc) – พบมากในอาหารทะเล หอยนางรม เมล็ดทานตะวัน เห็ด เนื้อหมู ไข่ ข้าวกล้อง ถั่วลิสง ปลา จมูกข้าวสาลี แป้งงา เมล็ดฟักทอง ธัญพืช เครื่องเทศ ผักโขม
- แอสต้าแซนทิน (Astaxanthin) – พบมากในสาหร่ายฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส (Haematocuccus pluvialis)
Astaxanthin | สารต้านอนุมูลอิสระที่แรงกว่า วิตามินซี 6,000 เท่า
ราชาของสารต้านอนุมูลอิสระ
Astaxanthin is The King of Antioxidant … แอสต้าแซนทิน คือ ราชาของสารต้านอนุมูลอิสระ เพราะว่า
- มีประสิทธิภาพสูงกว่าวิตามินซี (Vitamin C) ถึง 6,000 เท่า
- มีประสิทธิภาพสูงกว่าวิตามินอี (Vitamin E) ถึง 500 เท่า
- มีประสิทธิภาพสูงกว่าเบต้า แคโรทีน (Beta Carotene) ถึง 11 เท่า
- มีประสิทธิภาพสูงกว่าลูทีน (Letien) ถึง 2.6 เท่า
นอกจากนี้แอสต้าแซนทินยังเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เปลี่ยนเป็นอนุมูลอิสระซะเองน้อยกว่าทั้งเบต้า แคโรทีน ไลโคปีน และซีแซนทีน หมายความว่าตอนแรกทำตัวเป็นตำรวจ (Antioxidant) แต่อยู่ไปอยู่มาดันกลายมาเป็นโจรเองซะงั้น (Free Radical)
เรียกได้ว่าแอสต้าแซนทิน คือ ราชาของสารต้านอนุมูลอิสระที่แท้จริง !!!
Astaxanthin ยี่ห้อไหนดี | วิธีเลือกซื้อและวิธีกิน
Astaxanthin จากธรรมชาติ
AstaSure อาหารเสริมที่คิดค้นและพัฒนาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ
บริษัทแรกในโลกที่สามารถผลิตแอสต้าแซนทินจากธรรมชาติ มีประสบการณ์มายาวนานกว่า 30 ปี มาจากการเพาะเลี้ยงสาหร่ายฮีมาโตคอกคัส พลูวิเอลิส ในพื้นที่ปิดที่มีความเงียบสงบเป็นธรรมชาติ เพื่อให้ได้สารแอสต้าแซนทินที่มีประโยชน์สูงสุด และสะอาดปลอดภัย
นอกจากนี้ยังมีส่วนผสมของน้ำมันที่มีประโยชน์กับร่างกายอีก 9 ชนิด คือ
- น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ (Flaxseed Oil)
- น้ำมันโบราจ (Borage Oil)
- น้ำมันงาขี้ม้อน (Perilla Oil)
- น้ำมันอโวคาโด (Avocado Oil)
- น้ำมันจมูกข้าวสาลี (Wheat Germ Oil)
- น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
- น้ำมันเมล็ดองุ่น (Grape Seed Oil)
- น้ำมันอีฟนิ่งพรีมโรส (Evening Primrose Oil)